฿1,500.00
เนื้อโลหะผสมรมดำ สภาพสวย พร้อมกล่องเดิมๆ พิมพ์เล็ก ปี ๒๕๔๙ วัดช้างให้ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี
หลวงพ่อทวด วัดช้างไห้พิมพ์ห้าเหลี่ยม ปี ๒๕๔๙ เกจิอาจารย์สายใต้ราวมปลุกเสก ณ วัดช้างไห้
รูปเหมือนเนื้อโลหะผสมหลวงพ่อทวดเวัดช้างไห้พิมพ์ห้าเหลี่ยม ปี ๒๕๔๙ เกจิอาจารย์สายใต้กับคณาจารย์ที่เก่งๆ ในยุคนั้นร่วมปลุกเสก ณ วัดช้างไห้อย่างเข้มขลัง ปัจจุบันพระเครื่องปู่ทวด ที่ปลุกเสกโดยคณาจารย์สายใต้นั้น ราคาขยับไปแรงมาก ส่วนที่สร้างไว้กับวัดอื่นๆ ก็ล้วนขยับตามไปแล้ว แต่ที่น่าจับตามองก็หลวงพ่อทวด วัดช้างไห้พิมพ์ห้าเหลี่ยม ปี ๒๕๔๙ โดยเฉพาะเนื้อโลหะผสม กำลังมีการซุ่มเก็บเงียบ เนื่องจากพุทธศิลป์ และพิธี รวมทั้งทันเกจิอาจารย์สายใต้เสกด้วย
คาถาบูชา หลวงพ่อทวด “นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา”
ขออาราธนา บารมีแห่งองค์พระโพธิสัตว์หลวงปู่ทวด โปรดอภิบาล รักษา คุ้มครอง ช่วยเหลือ ดลใจให้ทุกท่านที่ประพฤติอยู่ในศีลธรรม มีความเคารพในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ จงมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง ตลอดกาลนานเทอญ…..
พุทธคุณเด่นในด้านเมตตามหานิยม แคล้วคลาด ปลอดภัยพุทธคุณจึงแรงมากๆๆๆ และมีประสบการณ์สูงมาก จึงเหมาะมากสำหรับผู้ที่อยากให้ตำแหน่งหน้าที่การงานเจริญเติบโตก้าวหน้า หรือ ผู้ที่มีใจใฝ่ทางด้านการเสี่ยงโชคลาภทุกชนิด ควรมีไว้บูชาพกพาติดตัวไว้เป็นอย่างเนืองนิจ ทั้งผู้ที่นิยม และศรัทธา รวมไปถึงผู้นำ นักการปกครอง ผู้บังคับบัญชา หรือ นักบริหารทุกระดับชั้น ข้าราชการทุกตำแหน่ง ทุกประเภทไม่ว่าชั้นผู้ใหญ่ ชั้นผู้น้อย นายทหารทุกเหล่าทัพ (โดยเฉพาะผู้ปฏิบัติภารกิจอยู่ใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้) ตำรวจ ครูบาอาจารย์ นักพูด นักขาย (ที่ต้องหายอดลูกค้า) นักเจรจา ดารา นักร้อง นักแสดง ผู้ที่ต้องปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นทุกประเภท นักกีฬาทุกประเภท นักทำมาหากินทุกประเภท มนุษย์เงินเดือน ผู้ที่ต้องแข่งขันกับผู้อื่น ไม่ว่าทั้งโดยตรง หรือโดยอ้อม พ่อค้า แม่ค้า ประชาชนทั่วไป ก็ไม่ควรพลาดเช่นกัน ควรมีไว้บูชาเป็นอย่างยิ่ง
พุทธคุณแรงเกินราคา คุ้มค่ามากๆๆๆ กับความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน การมีชื่อเสียง ตำแหน่งที่สูงขึ้น การมีโชคลาภขั้นสูง มหาเสน่ห์ มหานิยมที่รุนแรงการชนะเหนือคู่แข่งขันทั้งหลาย ฯลฯ เป็นต้น
การขอบารมีอันศักดิ์สิทธิ์ของหลวงปู่ทวด : ด้วยการจุดธูป ๑๖ ดอก บูชาวัตถุมงคลของท่านรุ่นใดก็ได้ หรือ ระลึกถึงท่าน ตั้งจิตให้เป็นสมาธิแน่วแน่และศรัทธา ท่อง ” นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา ” ๑๖ จบ เท่านี้ท่านก็รับรู้แล้ว